คำถูก
|
คำผิด
|
กกุธภัณฑ์ (เครื่องหมายความเป็นพระราชา)
|
กกุฐภัณฑ์
|
กงจักร
|
กงจักร์
|
ก้งโค้ง (โก้งโค้ง)
|
|
ก้งฉ่าย (ก๊งฉ่าย) (ผักกาดเค็ม)
|
ก๊งไฉ่
|
กงสุล
|
กงศุล
|
กงเกวียนกำเกวียน
|
กงกำกงเกวียน
|
กฎหมาย กฎบัตร กฎเกณฑ์
|
กฏหมาย กฎบัตร กฏเกณฑ์
|
กฎแห่งกรรม กฎอัยการศึก
|
|
กตเวที (กะ-ตะ)
|
กัตตเวที
|
กติกา
|
กะติกา
|
กนก (กะ-หนก) (ทองคำ)
|
กหนก
|
กนิษฐ์ (กะ-นิด) (น้องสาว)
|
กนิษ กนิฐ
|
กบฏ (กะ-บด หรือ ขบถ)
|
กบฎ
|
กบาล
|
กระบาน กบาน
|
กมล (หรือ กระมล) (หัวใจ)
|
กะมล
|
ก้นปล่อง (ยุง)
|
ก้นป่อง
|
กรณี (กะ-ระ-นี หรือ กอ-ระ-นี) (คดี, เรื่อง,เหตุ)
|
กรณีย์
|
กรณีย์ (กะ-ระ-นี หรือ กอ-ระ-นี) (กิจอันพึงทำ)
|
กรณี
|
กรณียกิจ (กิจอันพึงทำ)
|
กรณีย์กิจ
|
กรมธรรม์ (กรม-มะ-ทัน) (เอกสารสัญญา)
|
กรมธรร
|
กรรเชียง (เครื่องพุ้ยน้ำ)
|
กันเชียง
|
กรรโชก (ขู่)
|
กรรโชค
|
กรรฐ์ (กัน) (คอ)
|
กรรณ
|
กรรณ (กัน) (หู ใบหู)
|
กรรฐ์
|
กรรมพันธุ์ (กำ-มะ-พัน)
|
กรรมพันธ์
|
กรรมฐาน (กำ-มะ-ถาน)
|
กำมะฐาน
|
กรรมาธิการ (กำ หรือ กัน-มา-ทิ-กาน)
|
กรรมมาธิการ
|
กรรแสง (ร้องไห้)
|
กันแสง
|
กรอกแกรก (เสียง)
|
ก๊อกแก๊ก
|
กระจ้อยร่อย
|
กะจ้อยร่อย
|
กระเง้ากระงอด (ทำกริยาให้เอาใจ, โกรธอย่างแสนงอน)
|
กะเง้ากะงอด
|
กระง่อนกระแง่น (ไม่มั่นคง, คลอนแคลน)
|
กะง่อนกะแง่น
|
กระจิริด (กระ-จิ-หริด) (เล็กน้อย)
|
กระจิดริด
|
กระฎุมพี (คนมั่งมี, ไพร่)
|
กระดุมภี
|
กระฉับกระเฉง
|
กะฉับกะเฉง
|
กระเซอะกระเซิง
|
กะเซอะกะเซิง
|
กระได
|
กะได
|
กระท้อน (ผลไม้)
|
กะท้อน
|
กระหนก (ลายเครือเถาอย่างหางกินนร)
|
กนก (ทองคำ)
|
กระบี่ (ดาบชนิดหนึ่ง, ลิง)
|
กะบี่
|
กระเพาะ
|
กะเพาะ
|
กระย่องกระแย่ง (ร่างกายไม่แข็งแรง ทำให้เดินหรือเคลื่อนไหวไม่สะดวก)
|
กะย่องกะแย่ง
|
กระยาสารท
|
กะยาสาร์ท
|
กระษัย (โรคที่ทำให้ร่างกายโทรม)
|
กษัย
|
กระษาปณ์ หรือ กษาปณ์ (เงินเหรียญ)
|
กระษาป
|
กระสันสวาท
|
กระสันต์สวาท
|
กระเบียดกระเสียร (พยายามใช้จ่ายอย่างจำกัดจำเขี่ย)
|
กระเบียดกระเสียน
|
กระแสน้ำ
|
กระแสร์น้ำ
|
กระบือ
|
กะบือ
|
กระสับกระส่าย (กระวนกระวาย, ทุรนทุราย)
|
กะสับกะส่าย
|
กระออดกระแอด (อาการที่ป่วยอยู่บ่อยๆ หรือบ่นไม่รู้จักจบ)
|
กะออดกะแอด
|
กระอ้อมกระแอ้ม (พูดอ้อมแอ้ม, ไม่ฉะฉาน, ไม่เต็มปาก)
|
กะอ้อมกะแอ้ม
|
กระอักกระอ่วน (ลังเลใจ, ตกลงใจไม่ได้)
|
กะอักกะอ่วน
|
กรีฑา (การเล่นสนุก, กีฬาประเภทลู่และลาน)
|
กรีทา
|
กรีธาทัพ (ยกทัพ)
|
กรีฑาทัพ
|
กรุณา
|
การุณา
|
กฤดาภินิหาร (กริ-ดา-พิ-นิ-หาน) (บุญอันยิ่งที่ทำไว้)
|
กฤษดาภินิหาร
|
กฤษฎาภินิหาร (กริด-สะ-ดา) (บุญอันยิ่งที่ทำไว้ – แผลงมาจาก กฤดาภินิหาร มักใช้ในคำกลอน)
|
|
กฤษฎีกา (กริด-สะ) (กฎหมายฝ่ายบริหาร)
|
กฎษฎีกา
|
กฤษณา (กริด-สะ-หนา) (เนื้อไม้หอม)
|
กฤษนา
|
กลมเกลียว (เข้ากันได้สนิท)
|
กลมเกรียว
|
กล้อน (ตัดให้เกรียน)
|
กร้อน
|
กว๊าน (บึงขนาดใหญ่)
|
กว้าน
|
กสิณ (กรรมฐานหมวดหนึ่ง)
|
กสิน
|
กหาปณะ (เงินโบราณ)
|
กหาปนะ
|
กเฬวราก (กะ-เล-วะ-ราก) (ซากศพ – มิได้หมายถึงเลวทรามต่ำช้าที่คนส่วนใหญ่เข้าใจ)
|
กะปริดกะปรอย (คำถูก) (ทำๆหยุดๆ เช่น ฝนตก, น้ำประปาไหล บางทีใช้ว่า กะปริบกะปรอย)
|
กะปลกกะเปลี้ย (อ่อนเพลีย)
|
กระปรกกระเปลี้ย
|
กะพรวดกะพราด (พรวดพราด)
|
กระพรวดกระพราด
|
กะพร่องกะแพร่ง (ไม่ครบถ้วน)
|
กระพร่องกระแพ่ง
|
กะโผลกกะเผลก (เดินไม่ปกติ)
|
กระโผลกกระเผลก
|
กะพริบ (ปิด-เปิด โดยเร็ว เช่น กะพริบตา ไฟกะพริบ)
|
กระพริบ
|
กะพรุน (สัตว์ทะเล)
|
กระพรุน
|
กะเรี่ยกะราด (กระจัดกระจาย)
|
กระเรี่ยกระราด
|
กะรัต (กะ-หรัด) (หน่วยชั่งเพชรพลอย)
|
กระรัต
|
กะรุ่งกะริ่ง (ขาดเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย)
|
กระรุ่งกระริ่ง
|
กะเร่อกะร่า หรือ กะเล่อกะล่า (เซ่อซ่า, แต่งตัวรุ่มร่าม)
|
กระเร่อกระร่า
|
กะล่อน (พูดคล่องแต่ไม่จริง)
|
กระล่อน
|
กะลิ้มกะเหลี่ย (อาการอยากได้)
|
กระลิ้มกระเหลี่ย
|
กะละปังหา
|
กัลละปังหา
|
กะละมัง
|
กาละมัง
|
กะละแม
|
กาละแม (ที่ใช้เป็นชื่อคน ถือเป็นความต้องการของเจ้าของชื่อ แต่ไม่ใช่คำที่ถูกต้อง)
|
กะลา (ส่วนแข็งที่หุ้มเนื้อมะพร้าว)
|
กลา
|
กะลาสี (ลูกเรือ)
|
กลาสี
|
กะหนุงกะหนิง (พูดเบาๆ แบบสนิทสนม)
|
กระหนุงกระหนิง
|
กะหร็อมกะแหร็ม (มีห่างๆ ไม่เป็นพวกเป็นหมู่)
|
กระหร็อมกระแหร็ม
|
กะเหรี่ยง (ชาวเขา)
|
กระเหรี่ยง
|
กะโหลก
|
กระโหลก
|
กะหล่ำ
|
กระหล่ำ
|
กะหรี่ (แกง, โสเภณี)
|
กระหรี่
|
กะหรี่ปั๊บ (ขนม)
|
กระหรี่ปั๊บ
|
กะหลาป๋า (ชมพู่)
|
กระหลาป๋า
|
กะไหล่ (วิธีเคลือบโลหะด้วยเงินหรือทอง)
|
กาไหล่
|
กักขฬะ (กัก-ขะ-หละ) (หยาบคายมาก)
|
กักขละ, กักขะฬะ
|
กังวล (ห่วงใย)
|
กังวน
|
กังวาน (เสียงก้อง)
|
กังวาล
|
กังสดาล (สะ-ดาน) (ระฆังวงเดือน)
|
กังสะดาน
|
กัญชา (พืช, ยาเสพติด)
|
กันชา
|
กัณฐกะ (กัน-ถะ-กะ) (เครื่องประดับคอ, ชื่อม้าของพระพุทธเจ้า)
|
กัณถกะ
|
กันดาร (แห้งแล้ง, ลำบาก, ฝืดเคือง)
|
กันดาล (กลาง)
|
กรรแสง (ร้องไห้)
|
กันแสง
|
กัปตัน (นายเรือ, หัวหน้า)
|
กับตัน
|
กัมปนาท (เสียงดังสนั่น)
|
กำปนาท
|
กัมประโด (นายหน้าซื้อขาย)
|
กัมปะโด กัมประโด
|
กัมพูชา
|
กำพูชา
|
กัลบก (กัน-ละ-บก) (ช่างตัดผม)
|
กัลลบก
|
กัลปพฤกษ์ (ต้นไม้)
|
กัลลปพฤกษ์
|
กัลป์ (กัน) (อายุ-เวลายาวนานแสนนาน)
|
กัลบ์
|
กัลปังหา (หรือ กะละปังหา)
|
กัลละปังหา
|
กัลยาณี (หญิงงาม)
|
กัลยานี
|
กาชาด (รูปกากบาทสีแดงบนพื้นขาว)
|
กาชาติ
|
กาซะลอง (ต้นไม้)
|
กาสะลอง
|
กากบาท (กา-กะ-บาด) (เครื่องหมายรูปตีนกา มีทั้ง + และ X)
|
กากะบาท
|
กากเพชร
|
กากเพชร์
|
ก๊าซ (อากาศธาตุ)
|
ก๊าส
|
ก๊าด (น้ำมัน)
|
ก๊าส
|
กานพลู (พืช)
|
กาลพลู
|
กาพย์ (คำร้อยกรอง)
|
กาพท์
|
กามารมณ์
|
กามารมย์
|
การะเกด (พรรณไม้, ชื่อนก)
|
การะเกตุ
|
การันต์ (ตัวอักษรที่ไม่ออกเสียง)
|
การันฑ์
|
การุณย์ (หรือ การุญ) (ความกรุณา)
|
การุณ
|
กาลเทศะ (กา-ละ)
|
กาละเทศะ
|
กาลัญญุตา (ความเป็นผู้รู้กาล)
|
กาลันยุตา
|
กาลกิณี (กา-ละ หรือ กาน-ละ-กิ-นี) (เสนียดจัญไร)
|
กาฬกิณี
|
กาสร (ควาย)
|
กาษร
|
กาสาวพัสตร์ (กา-สา-วะ-พัด) (ผ้าเหลืองพระ)
|
กาสาวพัสตร
|
กาสิโน
|
คาสิโน
|
กำซาบ (ซึมซาบเข้าไป)
|
กำทราบ
|
กำพืด (เทือกเถา เหล่ากอ)
|
กำพืช
|
กำนัน (ผู้ปกครองตำบล)
|
กำนัล
|
กำนัล (หญิงชาววัง, ของมอบให้ด้วยความนับถือ)
|
กำนัน
|
กำเนิด (กำ-เหนิด) (การเกิด)
|
กำเหนิด
|
กำมะถัน
|
กัมมะถัน
|
กำมะลอ (เลว, ไม่ทนทาน, ไม่ดี, ไม่งาม)
|
กัมมะลอ
|
กำมะหยี่ (ผ้า, ดอกไม้)
|
กัมมะหยี่
|
กำยาน (วัตถุหอมเกิดจากยางไม้, ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง)
|
กำยาล
|
กำราบ (กำ-หราบ) (ทำให้เข็ดหลาบ หรือกลัว)
|
กำหราบ
|
กำสรด (กำ-สด) (สลด, แห้ง, เศร้า)
|
กำศรด
|
กำสรวล (กำ-สวน) (โศกเศร้า, คร่ำครวญ)
|
กำศรวล
|
กำเหน็จ (ค่าจ้างทำเครื่องเงิน หรือทอง)
|
กำเหน็ด
|
กิจวัตร (กิจที่ทำเป็นประจำ)
|
กิจวัตร์
|
กิจจะลักษณะ (เป็นการเป็นงาน และเป็นระเบียบ)
|
กิจจลักษณะ
|
กิตติคุณ (คุณที่เลื่องลือ)
|
กิติคุณ
|
กิตติศัพท์ (เสียงเล่าลือ-ยกย่อง)
|
กิติศัพท์
|
กิตติมศักดิ์ (กิด-ติ-มะ-สัก) (ยกย่องเพื่อเป็นเกียรติยศ)
|
กิติมศักดิ์
|
กริยา (คำที่แสดงอาการของนาม)
|
กิริยา
|
กิริยา (การกระทำ, มารยาท เช่น กิริยานอบน้อม หรือทราม)
|
กริยา
|
กิเลส (เครื่องทำใจให้เศร้าหมอง)
|
กิเลศ
|
กีฏวิทยา (กี-ตะ) (วิชาว่าด้วยแมลง)
|
กีตวิทยา
|
กุฏฐัง (โรคเรื้อน)
|
กุดถัง
|
กุณฑล (ตุ้มหู)
|
กุณทล
|
กุณโฑ (คนโท-หม้อน้ำ)
|
คณโท
|
กุมภการ (ช่างหม้อ)
|
กุมภะการ
|
กุมภัณฑ์ (ยักษ์)
|
กุมภันฑ์, กุมภรรณ
|
กุมภาพันธ์ (เดือน)
|
กุมภาพันธุ์
|
กุมุท (บัวขาว)
|
กมุท
|
กุยช่าย (ไม้ล้มลุก)
|
กุ้ยฉ่าย
|
กุยเฮง (เสื้อแบบจีน)
|
กุ้ยเฮง
|
กุเรา (ปลา)
|
กุเลา
|
กุลาดำ (กุ้ง)
|
กุราดำ
|
กุลบุตร (กุน-ละ-บุด) (ลูกชายผู้มีตระกูล)
|
กุลบุตร์
|
กุศล (บุญ, สิ่งที่ดี)
|
กุสล
|
กุศโลบาย (กุ-สะ หรือ กุด-สะ-โล-บาย) (อุบายอันแยบคาย)
|
กุศโยบาย
|
กุสุมาลย์ (ดอกไม้)
|
กุสุมาล
|
เกลือสินเธาว์
|
เกลือสินเทา
|
เกษตรศาสตร์
|
เกษตร์ศาสตร์
|
เกษมศานต์ (หรือ สันต์) (ชื่นชมยินดี)
|
เกษมศานติ์
|
เกษียณ (สิ้นไป, ครบกำหนด)
|
เกษียน
|
เกษียน (ทำบันทึกถึง)
|
เกษียณ
|
เกษียร (น้ำนม)
|
เกษียณ
|
เกสร (ส่วนในของดอกไม้)
|
เกษร
|
เกาต์ (โรค)
|
เกาท์
|
เกาทัณฑ์ (ธนู)
|
เกาทัณท์
|
เก๋ากึ้ก (หรือ เก๋ากึ๊ก) (เก่ามาก)
|
|
แกงบวด (ของหวาน)
|
แกงบวช
|
แก๊ป (หมวก)
|
แก็ป
|
แกร็น (ไม่โตขึ้น)
|
แกรน
|
แกรนิต (หิน)
|
แกรนิตย์
|
แก้วสารพัดนึก
|
แก้วสารพัตรนึก
|
โกฏิ (โกด) (สิบล้าน)
|
โกฎ
|
โกส (โกด) (ผอบ)
|
โกศ
|
โกศ (โกด) (ที่ใส่พระศพ)
|
โกฐ
|
โกสีย์ (พระอินทร์)
|
โกสี
|
ใกล้ (ไม่ห่าง)
|
ไกล้
|
ไก๋ (ไถลทำเป็นไม่รู้)
|
ไก๊
|
ไกรลาส (ภูเขา)
|
ไกรลาศ
|
ขจี (ขะ-จี) (งามสดใส)
|
ขะจี
|
ขนด (ขะ-หนด) (ตัวงูที่ขด)
|
ขะนด
|
ขบถ (หรือ กบฏ) (ทรยศ, ผู้ทรยศ)
|
กบฎ
|
ขม่อม (ขะ-หม่อม) (หรือ กระหม่อม) (ส่วนกลางหัว)
|
ขะหม่อม, กะหม่อม
|
ขมีขมัน (ขะ-หมี-ขะ-หมัน) (ทันที, เร็ว)
|
ขะมีขะมัน
|
ขโมย
|
ขะโมย
|
ขมึงทึง (ขะ-หมึง-ทึง) (หรือ ถมึงทึง ถะ-หมึง-ทึง) (หน้าตาบูดบึ้ง, ไม่ยิ้มแย้ม)
|
ขะมึงทึง
|
ขยอก (ขะ-หยอก) (กระเดือกเข้าไป)
|
ขะยอก
|
ขยะแขยง (ขะ-หยะ-ขะ-แหยง) (เกลียด, สะอิดสะเอียน)
|
ขะยะแขยง
ขยักแขยง
|
ขยักขย่อน (ขะ-หยัก-ขะ-หย่อน) (ทำๆ หยุดๆ ไม่ให้เสร็จในรวดเดียว)
|
ขะยักขะย่อน
|
ขยาด (ขะ-หยาด) (ครั่นคร้าม, กลัว, เข็ด)
|
ขะยาด
|
ขยำ (ขะ-หยำ) (บีบย้ำๆ)
|
ขะยำ
|
ขย้ำ (ขะ-ย่ำ) (งับกัดอย่างแรง)
|
ขะย้ำ
|
ขยี้ (ขะ-ยี่)
|
ขะยี้
|
ขยุกขยิก (ขะ-หยุก-ขะหยิก) (ไม่นิ่ง, ขยับไปขยับมา)
|
ขะยุกขะยิก
|
ขยุ้ม (ขะ-ยุ่ม) (หยิบด้วยนิ้วทั้งห้า)
|
ขะยุ้ม
|
ขยุกขยุย (ขะ-หยุก-ขะ-หยุย)(ยุ่งเหยิงไม่เป็นระเบียบ)
|
ขะยุกขะยุย
|
ขริบ (ขริบ) (ตัดเล็มด้วยตะไกร)
|
ขลิบ
|
ขลิบ (ขลิบ) (เย็บหุ้มริมผ้าเพื่อให้งาม หรือกันลุ่ย)
|
ขริบ
|
ขวนขวาย (แสวงหา)
|
ขวนฝาย
|
ขวักไขว่ (สับสน)
|
ขวักไฝ่
|
ขะมักเขม้น (ข-มัก-ขะ-เม่น หรือ ขะ-หมัก-ขะ-เม่น) (รีบทำ, ตั้งใจทำ)
|
ขมักขะเม่น
|
ขะมุกขะมอม (ขะ-มุก-ขะ-มอม หรือ ขะ-หมุก-ขะ-มอม) (เปรอะเปื้อนมอซอ)
|
ขมุกขะมอม
|
ขัณฑสกร (น้ำตาลกรวด)
|
ขัณทสกร
|
ขันที (ชายที่ถูกตอน)
|
ขัณฑี
|
ขัณฑสีมา (เขตแดน)
|
ขัณทสีมา
|
ขัดสมาธิ (ขัด-สะ-หมาด) (หรือ ขัด-ตะ-หมาด) (นั่งคู้และแบะเข่าให้ขาทับกัน)
|
ขัดสมาด
|
ขัตติย (ขัด-ติ-ยะ) (พระเจ้าแผ่นดิน)
|
ขัตติยะ
|
ขัตติยมานะ (ถือตัวว่าเป็นกษัตริย์)
|
ขัตติยะมานะ
|
ขั้นบันได
|
คั่นบันได
|
ขากรรไกร
|
ขากันไกร
|
ข้าวเจ้า
|
ข้าวจ้าว
|
ข้าวกล้า (ข้าวที่เพาะไว้สำหรับดำ)
|
ข้าวกร้า
|
ข้าวเม่า (ข้าวเปลือกที่ยังไม่แก่จัดเอามาคั่ว)
|
ข้าวม่าว
|
ข้าวสาร
|
ข้าวสาน
|
ขี้ทูด (โรคเรื้อน)
|
ขี้ฑูต
|
ขี้ปะติ๋ว (เล็กน้อย)
|
ขี้ปติ๋ว
|
ขีณาสพ (พระอรหันต์)
|
ขีณาสบ
|
ขู่กรรโชก
|
ขู่กันโชก
|
ขู่เข็ญ
|
ขู่เข็น
|
เข็ญใจ (ยากจน)
|
เข็นใจ
|
เขต (แดน, แคว้น)
|
เขตร
|
เขมือบ (กลืนอย่างปลา)
|
ขะเหมือบ
|
เขยก (ขะ-เหยก) (ขากะเผลก)
|
ขะเยก
|
เขย่ง (ยืนด้วยปลายเท้า)
|
ขะเย่ง
|
เขยิบ (ขะ-เหยิบ) (ขยับเคลื่นที่)
|
ขะเยิบ
|
เขยื้อน (เคลื่อน)
|
ขะเยื้อน
|
เข้าฌาน (ชาน) (ทำจิตใจให้แน่วแน่)
|
เข้าญาน
|
เข้าด้ายเข้าเข็ม (คับขัน)
|
เข้าได้เข้าเข็ม
|
เข้าตรีทูต (อาการหนักปางตาย)
|
เข้าตรีฑูต
|
เข้าไต้เข้าไฟ (เริ่มมืดต้องเข้าแสงไฟ)
|
เข้าใต้เข้าไฟ
|
เข้ารีต (ทำพิธีเข้าถือในศาสนา)
|
เข้ารีด
|
เข้าสุหนัต (เข้าพิธีขลิบหนังในอิสลาม)
|
เข้าสุหนัด
|
แขม่ว (ขะ-แหม่ว) (ผ่อนลมหายใจให้ท้องแฟบลง)
|
ขแม่ว
|
โขมด (ผีชนิดหนึ่ง)
|
ขโมด
|
โขยง (ขะ-โหยง) (พวก)
|
ขโหยง
|
คณิกา (หญิงโสเภณี)
|
คณิการ์
|
คทา (ตะบอง)
|
คธา
|
คนโท (หม้อน้ำ)
|
คนโฑ
|
คนธรรพ์ (เทวดาพวกหนึ่ง)
|
คนธรรม์
|
ครหา (คะ-ระ หรือ คอ-ระ) (ติเตียน)
|
คระหา
|
ครอบจักรวาล
|
ครอบจักรวาฬ
|
คริสต์ศักราช
|
คริสตศักราช
|
คริสตัง (ผู้นับถือพระเยซู)
|
คริสตังค์
|
ครื้นเครง
|
ครื้นเคลง
|
ครุฑ
|
ครุท
|
คฤหัสถ์ (ผู้ครองเรือน)
|
คฤหัส
|
คฤหาสน์
|
คฤหาส
|
คละคล่ำ (ปนกันไป)
|
คละคร่ำ
|
คลื่นไส้
|
คลื่นใส้
|
ควั่น (อ้อย) (ทำให้เป็นรอยด้วยคมมีด)
|
ควั้น (อ้อย)
|
ควาญม้า (คนเลี้ยงม้า)
|
ควานม้า
|
ควาน (หา)
|
ควาญ
|
คว่ำบาตร (ไม่คบค้าสมาคม)
|
คว่ำบาต
|
ค้อน (เครื่องมือตีตะปู)
|
ฆ้อน
|
คะนอง
|
คนอง
|
คะนึง
|
คนึง
|
คะเน
|
คเน
|
คะมำ
|
คมำ
|
คะยั้นคะยอ
|
คยั้นคยอ
|
คัณฑสูตร (ฝี)
|
คัณทสูตร
|
คะเยอ (คัน)
|
คเยอ
|
คั่น (กันไว้, กั้นไว้)
|
ขั้น
|
คัมภีร์
|
คัมภี
|
คัมภีรภาพ (ความลึกซึ้ง)
|
คำภีรภาพ
|
ค้าประเวณี
|
ค้าประเวนี
|
เครื่องราง (ของป้องกันอันตราย)
|
เครื่องลาง
|
หอยแครง
|
หอยแคลง
|
เคี่ยวเข็ญ
|
เคี่ยวเข็น
|
โคบาล (คนเลี้ยงวัว)
|
โคบาน
|
โครงการ
|
โครงการณ์
|
ใคร่ครวญ
|
ใคร่ครวน
|
ฆราวาส
|
คราวาส
|
ฆ้อง (สำหรับตี), ค้อน (สำหรับตอก, แสดงความไม่พอใจด้วยการตวัดสายตา)
|
ค้อง, ฆ้อน
|
เฆี่ยน (ตีด้วยไม้เรียว)
|
เคี่ยน
|
งบดุล (บัญชี)
|
งบดุลย์
|
งูสวัด (โรค)
|
งูสะวัด
|
จงกรม (เดิน)
|
จงกลม
|
จงกลนี (บัว)
|
จงกลณี
|
จงอาง (งู)
|
จงอางค์
|
จรดพระนังคัล (จะ-หรด) (พิธีแรกนา)
|
จรดพระนังคัน
|
จรรโลง (พยุงไว้)
|
จัญโลง
|
จระเข้ (จอ-ระ-เข้)
|
จรเข้
|
จาระบี (หรือ จระบี) (น้ำมัน)
|
จารบี
|
จราจร
|
จลาจร
|
จริต (จะ-หริด) (ความประพฤติ)
|
จริด
|
จลาจล (วุ่นวายใหญ่)
|
จราจล
|
จะเข้ (เครี่องดนตรี)
|
ตะเฆ่
|
จะละเม็ด (ปลา-ไข่เต่า)
|
จาละเม็ด
|
จะละหวั่น (หรือ จ้าละหวั่น) ชุลมุน, วุ่นวาย
|
จ้าระหวั่น
|
จักจั่น (จัก-กะ-จั่น) (แมลง)
|
จั๊กกะจั่น
|
จักรพรรดิ (จัก-กระ-พัด)
|
จักรพรรดิ์
|
จักรวรรดิ (จัก-กระ-หวัด) (อาณาเขต)
|
จักรวรรดิ์
|
จักรวาล
|
จักรวาฬ
|
จัณฑาล (ต่ำช้า)
|
จัณฑาณ
|
จัตุโลกบาล (จัด-ตุ-โลก-กะ-บาน) (ผู้รักษาโลกในสี่ทิศ)
|
จัตุโลกบาน
|
จัตุสดมภ์ (จัด-ตุ-สะ-ดม) (ตำแหน่งรัฐมนตรีโบราณ)
|
จัตุสะดมภ์
|
จันทน์กะพ้อ (ต้นไม้)
|
จันทน์กระพ้อ
|
จันทรคราส (จัน-ทระ-คราด) (การกลืนดวงจันทร์)
|
จันทร์คราส
|
จับฉ่าย (แกง)
|
จับไฉ่
|
จามจุรี (ต้นไม้ชนิดหนึ่ง, เนื้อทรายมีขนละเอียด บางครั้งเรียก จามรี – จา-มะ-รี)
|
จามจุรีย์
|
จาระไน (อธิบายถี่ถ้วน)
|
จารนัย
|
จารีต (ความประพฤติ)
|
จารีด
|
จำวัด (นอน-พระ)
|
จำวัตร
|
จำนง (หวัง, ตั้งใจ)
|
จำนงค์
|
จำนรรจ์ (พูด, กล่าว)
|
จำนรร
|
จำปาดะ (ต้นไม้)
|
จัมปาดะ
|
จิงโจ้
|
จิ้งโจ้
|
จิตวิทยา
|
จิตตวิทยา
|
จิตรกร
|
จิตตกร
|
จิตรกรรม
|
จิตกรรม
|
จิตรลดา (ชื่อวัง, สวนพระอินทร์)
|
จิตลดา
|
จินตนาการ (ความคิด)
|
จินตนากาล
|
จิปาถะ (สารพัด)
|
จิปาฐะ
|
จุณ (ของละเอียด, ของป่น)
|
จุล
|
จุล (เล็ก, น้อย)
|
จุน
|
จุติ (จุ-ติ หรือ จุด-ติ)
|
จุตติ
|
จุมพิต (จูบ)
|
จุมพิตร
|
จุลทรรศน์ (กล้อง)
|
จุลทรรศ์
|
จุลศักราช
|
จุลศักราชย์
|
จุลินทรีย์
|
จุลินทรี
|
เจตจำนง (ความตั้งใจ)
|
เจตจำนงค์
|
เจตสิก (เจ-ตะ หรือ เจด-ตะ-สิก) (อารมณ์ที่เกิดกับใจ)
|
เจตตะสิก
|
เจโตวิมุติ (ความหลุดพ้นด้วยอำนาจจิต)
|
เจโตวิมุตติ
|
เจว็ด (จะ-เหว็ด) (ผู้เป็นใหญ่แต่ไม่มีอำนาจ)
|
จเว็ด
|
เจ้าเล่ห์
|
จ้าวเล่ห์
|
เจียระไน (ทำเพชร หรือแก้วเป็นเหลี่ยม)
|
เจียรไน
|
โจงกระเบน (นุ่งผ้าแบบไทย)
|
โจงกะเบน
|
โจ่งครึ่ม (หรือ โจ๋งครึ่ม) (ทำอย่างเปิดเผย ไม่เกรงกลัวใคร)
|
โจงครึ่ม
|
โจทก์ (ผู้ฟ้อง)
|
โจทย์
|
โจทย์ (คำถาม)
|
โจทก์
|
ฉกามาพจร (สวรรค์ 6ชั้น)
|
ฉกามาพะจร
|
ฉงน (ฉะ-หงน) (สงสัย)
|
ฉะงน
|
ฉนวน (ฉะ-หนวน) (ทางเดินมีเครื่องกำบัง, วัตถุที่ไม่เป็นตัวนำไฟฟ้า)
|
ฉะนวน
|
ฉ้อฉล (โกง)
|
ฉ้อฉน
|
ฉะนั้น
|
ฉนั้น
|
ฉันทานุมัติ (เห็นชอบตามโดยความพอใจ)
|
ฉันทานุมัต
|
ฉัพพรรณรังสี (ฉับ-พัน-นะ-รัง-สี) (รัศมี 6ประการ)
|
ฉับพรรณรังสี
|
เฉลย (แก้ความ)
|
ฉเลย
|
โฉนด
|
ฉโนด
|
ไฉไล (งาม)
|
ไฉใล
|
ชฎิล (ชะ-ดิน) (นักบวช)
|
ชฎิน
|
ชนก (ชะ-นก) (พ่อ)
|
ชะนก
|
ชนมพรรษา (ชน-มะ-พัน-สา) (อายุ)
|
ชนม์พรรษา
|
ชนวน (สื่อกลาง, กระดานเขียน)
|
ชะนวน
|
ชนัก (เครื่องแทงสัตว์)
|
ชะนัก
|
สีชมพู
|
สีชมภู
|
ชมพู่ (ต้นไม้)
|
ชมภู่
|
ชมพูนุท (ทองเนื้อบริสุทธิ์)
|
ชมภูนุท
|
ชม้อย (หลบตาเอียงอาย)
|
ชะม้อย
|
ชลมารค (ชน-ละ-มาก) (ทางน้ำ)
|
ชลมาก
|
ชลาศัย (สระ, ทะเล)
|
ชลาศรัย
|
ชโลม (ทำให้เปียกชุ่ม)
|
ชะโลม
|
ชวา (ชื่อเกาะ)
|
ชะวา
|
ชอล์ก (ดินสอเขียน)
|
ชอกล์
|
ช็อกโกเลต (หรือ ช็อกโกแลต)
|
ช็อกโกเล็ต (แล็ต)
|
ชะงัก (หยุดทันที)
|
ชงัก
|
ชะตา (ดวงชะตา) (ชะตากรรม)
|
ชตา
|
ชะง่อน (หินที่งอกออกมา)
|
ชง่อน
|
ชะโด (ปลา)
|
ชโด
|
ชอุ่ม (ชะ-อุ่ม) (ชุ่ม, สดชื่น)
|
ชะอุ่ม
|
ชะนี (สัตว์)
|
ชนี
|
ชะรอย (เห็นจะ, บางที)
|
ชรอย
|
ชะลอ (ประคองไว้)
|
ชลอ
|
ชะลอม (เครื่องสาน)
|
ชลอม
|
ชักเย่อ (ชัก-กะ-เย่อ) (การเล่น)
|
ชักกะเย่อ
|
ชัชวาล (ชัด-ชะ-วาน) (สว่าง, รุ่งเรือง)
|
ชัชวาลย์
|
ชัฏ (ป่าทึบ)
|
ชัฎ
|
ชันนะตุ (โรคผิวหนัง)
|
ชันตุ
|
ชันษา (ชัน-นะ-สา) (อายุ)
|
ชันม์ษา
|
ชันสูตร (ชัน-นะ-สูด) (ตรวจสอบ)
|
ชันสูติ
|
ชัยภูมิ (ไช-ยะ-พูม) (ทำเลที่เหมาะ)
|
ชัยภูม
|
ชัยพฤกษ์ (ไช-ยะ-พลึก) (ต้นไม้)
|
ไชยพฤกษ์
|
ช้างพลาย (ตัวผู้)
|
ช้างพราย
|
ช่างกระไร (คำกล่าวตัดพ้อ)
|
ช่างกะไร
|
ชิมลาง (ลองต่อเหตุการณ์)
|
ชิมราง
|
ชีววิทยา
|
ชีวะวิทยา
|
ชีวาลัย (ชีวิต)
|
ชีวาไล
|
ชีวิตินทรีย์ (ชีวิต)
|
ชีวิตินทรี
|
เช็คของขวัญ
|
เชคของขวัญ
|
แชล่ม (ชะ-แล่ม) (หรือ แฉล้ม)
|
ชะแล่ม
|
ซวดทรง (ภาษาโบราณ) (ทรวดทรง)
|
ซวดซง
|
ซอกแซก
|
ซอกแทรก
|
ซักไซ้ (ไต่ถาม)
|
ซักไซร้
|
ซังกะตาย (ทำโดยไม่เต็มใจ)
|
ซังกระตาย
|
ซาก (ร่าง-อาคาร ที่ทรุดโทรมไปแล้ว)
|
ทราก
|
ซ้ำซาก
|
ซ้ำทราก
|
ซิ่น (ผ้าถุง)
|
สิ้น
|
ซุป (อาหารเหลว)
|
ซุบ
|
ซุ่ม (แอบแฝง)
|
สุ้ม
|
ซุ่มซ่าม (ผลีผลาม)
|
ซู่มซ่าม
|
ฌาปนกิจ (ชา-ปะ-นะ-กิจ) (เผาศพ)
|
ฌาปนะกิจ
|
ญัตติ (ข้อเสนอเพื่อลงมติ)
|
ญัติ
|
ฐานันดร (ลำดับแห่งยศบรรดาศักดิ์)
|
ฐานันท์ดร
|
เถ้าแก่ (หรือ เฒ่าแก่) – ผู้ใหญ่ที่เป็นประธานในการสู่ขอและหมั้น, ชายจีนเจ้าของกิจการ, ชายจีนที่เป็นผู้ใหญ่และมีฐานะดี
|
|
ดรรชนี (นิ้วชี้)
|
ดัชชะนี
|
ดอกจัน (เครื่องหมาย)
|
ดอกจันทร์
|
ดะโต๊ะ (ผู้เชี่ยวชาญกฎหมายอิสลาม)
|
ดาโต๊ะ
|
ดันทุรัง (ดื้อดึง)
|
ดันทุลัง
|
ดัสกร (ข้าศึก)
|
ดัสสะกร
|
ดาดฟ้า (พื้นราบตอนบนของเรือหรือตอนบนสุดของอาคาร)
|
ดาษฟ้า
|
ดาบส (ฤษี)
|
ดาบถ
|
บันดาลโทสะ (โกรธาเคืองมาก)
|
บันดาลโทษะ
|
ดาวดึงส์ (ดาว-วะ-ดึง) (สวรรค์)
|
ดาวดึงษ์
|
ดำรง (ทรงไว้, ตั้งไว้)
|
ดำรงค์
|
ดำริ (ดำ-หริ) (คิด)
|
ดำริห์
|
ดิรัจฉาน (หรือ เดรัจฉาน หรือ เดียรัจฉาน)
|
เดระฉาน
|
ดึกดำบรรพ์ (นาน)
|
ดึกดำบรรพ
|
ดื่นดาษ (มากมาย)
|
ดื่นดาด
|
เดนมาร์ก (เด็น-หมาก)
|
เด็นมาร์ค
|
เดินสะพัด (กระแสรายวัน)
|
เดินสพัด
|
เดียรถีย์ (นักบวชนอกพุทธศาสนา)
|
เดียรถี
|
เดือดดาล (โกรธมาก)
|
เดือดดาน
|
ตบะ (พิธีข่มกิเลส)
|
ตะบะ
|
ต้มสุก (ล่อลวงให้หลงสำเร็จ)
|
ต้มสุข
|
ต้มกะทิ (ชื่อแกง)
|
ต้มกทิ
|
ต้มโคล้ง (ชื่อแกง)
|
ต้มโคร้ง
|
ตระบัด (ทันใด, ประเดี๋ยว, ฉ้อโกง, ยักยอก) (เช่น ตระบัดสัตย์ – ไม่รักษาคำมั่นสัญญา)
|
ตระบัต
|
ตราสัง (มัดศพ)
|
ตราสังข์
|
ตรีโกณ (รูปสามเหลี่ยม)
|
ตรีโกน
|
ตรีทูต (ลักษณะบอกอาการตาย)
|
ตรีฑูต
|
ตรีศูล (หลาวพระอิศวร)
|
ตรีศูนย์
|
ตรียัมปวาย (พิธีโล้ชิงช้า)
|
ตรียำปวาย
|
ตรุษจีน
|
ตรุดจีน
|
ตฤณชาติ (ตริน-นะ-ชาด) (หญ้าต่างๆ)
|
ตฤณชาต
|
ตลก (ตะ-หลก)
|
ตะลก
|
ตลบตะแลง (ตะ-หลบ-ตะ-แลง) (ปลิ้นปล้อน, พลิกแพลงด้วยเล่ห์เหลี่ยมให้หลงเชื่อ)
|
ตะลบตะแลง
|
ตลิ่ง
|
ตะลิ่ง
|
ตะลึง (ชะงักนิ่งอึ้งเพราะคาดไม่ถึง)
|
ตลึง
|
ตะลึงพรึงเพริด (ตะลึงจนลืมตัว)
|
|
ตวัก (ตะ-หวัก) (เครื่องตักข้าว)
|
ตะวัก
|
ตวาด (ตะ-หวาด) (ขู่เต็มเสียง)
|
ตะวาด
|
ต้อยตีวิด (นก)
|
ต้อยติวิด
|
ตะลีตะลาน (รีบร้อน, ลุกลน)
|
ตาลีตาลาน
|
ตะกรุมตะกราม (ซุ่มซ่าม)
|
|
ตะขิดตะขวง (กระดากใจ)
|
|
ตะไคร่ (พืชในน้ำ)
|
ตะใคร่
|
ตะไคร้ (ต้นไม้)
|
ตะใคร้
|
ตะบองเพชร (หรือ กระบองเพชร)
|
ตะบองเพ็ด
|
ตะแบงมาน (หรือ ตะเบ็งมาน) (วิธีห่มผ้าแบบหนึ่ง)
|
|
ตะไบ (เครื่องมือ)
|
ตะใบ
|
ตะพาบน้ำ
|
ตะภาพน้ำ
|
ตะเภา (หนู, เรือ)
|
ตะเพา
|
ตะรังกะนู (หรือ ตรังกานู) (รัฐในมาเลเซีย)
|
|
ตะราง (เรือนจำคุมขังนักโทษ)
|
ตาราง (ช่องสี่เหลี่ยมที่เกิดจากเส้นขนานแนวนอนและแนวดิ่งตัดกัน)
|
ตั๊กแตน (ตั๊ก-กะ-แตน)
|
ตั๊กกะแตน
|
ตักษัย (ตัก-ไส) (ตาย)
|
ตรรกษัย
|
ตั้วโผ (หรือ โต้โผ) (หัวหน้าคณะมหรสพ)
|
|
ตานขโมย (โรค)
|
ตาลขโมย
|
ตายซาก
|
ตายทราก
|
ตาลปัตร (ตา-ละ-ปัด) (พัดของพระ)
|
ตาลปัต
|
ติดกัณฑ์เทศน์
|
ติดกัณเทศน์
|
ตุหรัดตุเหร่ (อยู่ไม่เป็นที่)
|
|
เต็นท์ (กระโจมที่อาศัย)
|
เต้นท์
|
โตนด (ตะ-โหนด) (ต้นตาล)
|
ตะโหนด
|
ไต้ (ใช้จุดไฟ)
|
ใต้ (ทิศ)
|
ไต้ก๋ง (นายท้ายเรือสำเภา)
|
ใต้ก๋ง
|
ไตรปิฎก
|
ไตรปีฎก
|
ถกเขมร (นุ่งผ้าหยักรั้งขึ้นให้พ้นเข่า)
|
ถกเขมน
|
ถมึงทึง (ถะ-หมึง-ทึง) (ท่าทางน่ากลัว)
|
ทะมึงทึง
|
ถะมัดถะแมง (ถะ-มัด-ถะ-แมง) หรือ ทะมัดทะแมง (ทะ-มัด-ทะ-แมง) (ขึงขัง, เอาจริงเอาจัง)
|
ทมัดทะแมง
|
เถาวัลย์ (ไม้เถา)
|
เถาวัล
|
ทมิฬ (คนเผ่าหนึ่ง)
|
ทะมิฬ
|
ทยอย (เคลื่อนตามกันไปไม่ขาดระยะ)
|
ทะยอย
|
ลิงทโมน
|
ลิงทะโมน
|
เส้นทแยงมุม
|
เส้นทะแยงมุม
|
ถึงแก่อสัญกรรม
|
ถึงแก่อสัญญกรรม
|
ทดรอง (ออกทรัพย์แทนไปก่อน เช่นเงินทดรองจ่าย)
|
เงินทดลองจ่าย
|
ทรพี (ทอ-ระ-พี) (ลูกอกตัญญู)
|
ทอรพี
|
ทรมาทรกรรม (ทอ-ระ-มา-ทอ-ระ-กำ) (ทนทุกข์ทรมานไม่จบสิ้น)
|
ทรมานทรกรรม
|
ทรรศนะ (ทัด-สะ-นะ) (หรือ ทัศนะ)
|
|
ทรวดทรง (ซวด-ซง) (หรือ ซวดทรง)
|
|
ทรหด (ทอ-ระ-หด) (อดทน)
|
ทระหด
|
ทระนง (ทอ-ระ-นง) (หรือ ทะนง)
|
|
ทรุดโทรม (ซุด-โซม)
|
ซุดโซม
|
ทรุด (ซุด) (จมลงไป)
|
ซุด
|
ทลาย (แตกหัก, พังกระจัดกระจาย)
|
ทะลาย
|
ทองรูปพรรณ (ทอง-รูบ-ปะ-พัน) (ทองคำที่ทำเป็นเครื่องประดับและของใช้ต่างๆ)
|
ทองรูปประพรรณ
|
ทะนาน (เครื่องตวง)
|
ทนาน
|
ทะนุถนอม
|
ทนุถนอม
|
ทะมัดทะแมง
|
ทะมัดทแมง
|
ทะเยอทะยาน
|
ทะเยอทยาน
|
ทะเลสาบ
|
ทะเลสาป
|
ทักษิณาวรรต (วนไปทางขวา)
|
ทักษิณาวัฏ
|
ทำทัณฑ์บน
|
ทำทัณบน
|
ทัพพี (อุปกรณ์ตักข้าว)
|
ทับพี
|
ทัศนีย์ (น่าดู, งาม)
|
ทัศณีย์
|
ทายาด (ยิ่งยวด เช่น ทนทายาด)
|
ทาญาติ
|
ทารุณ
|
ทารุน
|
ทิฆัมพร (ท้องฟ้า)
|
ฑิฆัมพร
|
ทิฐิ (ทิด-ถิ) (ความเห็น, ดื้อดึงในความเห็น)
|
ทิษฐิ
|
ทิพยรส (ทิบ-พะ-ยะ-รด) (รสเลิศ)
|
ทิพรส
|
ทิพยเนตร (ทิบ-พะ-ยะ-เนด) (ตาทิพย์)
|
|
ทิพยจักษุ (ทิบ-พะ-ยะ-จัก-สุ) (ตาทิพย์)
|
|
ทิศาปาโมกข์ (อาจารย์ผู้มีความรู้และชื่อเสียง)
|
ทิศาปาโมกษ์
|
ทีฆายุ (อายุยืน)
|
ฑีฆายุ
|
ทุกขนิโรธ (ทุก-ขะ-นิ-โรด) (ความดับทุกข์)
|
ทุกนิโรธ
|
ทุกขสมุทัย (ทุก-ขะ-สะ-หมุ-ไท) (เหตุให้เกิดทุกข์)
|
ทุกขสมุหทัย
|
ทุพพลภาพ (ทุบ-พน-ละ-พาบ) (ความอ่อนแอ)
|
ทุพลภาพ
|
ทูตานุทูต (พวกทูต)
|
ทูตานุฑูต
|
เทคนิค
|
เท็คนิก
|
แทรก (เบียดเข้าไป)
|
แซก
|
แทรกแซง
|
แซกแซง
|
โทรม (พัง, ทลาย)
|
โซม
|
โทรทรรศน์ (กล้องส่องดูทางไกล)
|
โทรทรรศ
|
โทรทัศน์ (เครื่องรับทีวี)
|
โทรทรรศน์
|
โทสาคติ (ความโกรธ)
|
โทษาคติ
|
ธนบัตร
|
|
ธนาณัติ
|
|
ธรรมาสน์ (ทำ-มาด) (ที่นั่งแสดงธรรม)
|
ธรรมมาสน์
|
ธัญญาหาร (อาหารคือข้าว)
|
ธัญหาร
|
ธารพระกร (ไม้เท้า)
|
ทานพระกร
|
ธารกำนัล (ทา-ระ-กำ-นัน) (ที่ชุมนุมชน)
|
ธารกำนัน
|
ธำมรงค์ (แหวน)
|
|
ธำรง (คงไว้)
|
|
ธุรการ
|
ธุระการ
|
นงคราญ (นางงาม)
|
นงค์คราญ
|
นงเยาว์ (นางสาว)
|
นงค์เยา
|
นวยนาด
|
|
นวลลออ (ผุดผ่อง)
|
|
นวลระหง (รูปทรงงาม)
|
|
นักปราชญ์
|
|
นักขัตฤกษ์ (งานรื่นเริง)
|
|
นักษัตร (ดาวฤกษ์)
|
|
นัยน์ตา (ดวงตา)
|
|
นัยนา (ดวงตา)
|
|
นิเทศ (คำแสดง ชี้แจง)
|
นิเทศน์
|
นิมนต์ (เชิญพระ)
|
นิมนตร์
|
นิมมานรดี (นิม-มา-นอ-ระ-ดี หรือ นิม-มา-นะ-ระ-ดี)(สวรรค์ชั้นที่ 5)
|
นิมานรดี
|
นิราศ (จากไป)
|
นิราส
|
นิวรณ์ (สิ่งกั้นจิตมิให้บรรลุความดี)
|
นิวร
|
นิวาส (ที่พัก)
|
นิวาศ
|
นิเวศ (หรือ นิเวศน์) (ที่อยู่, บ้าน)
|
นิเวส
|
นิสัย
|
นิสสัย
|
เนติบัณฑิต (ผู้รู้กฎหมาย)
|
เนติบันฑิต
|
เนรเทศ (เน-ระ-เทด)
|
เนรเทศน์
|
เนรมิต (เน-ระ-มิด)
|
เนรมิตร
|
เนืองนิตย์
|
เนืองนิจ
|
โนมพรรณ (รูปลักษณะ)
|
โนมพันธ์
|
บงการ (ชี้ให้ทำตาม)
|
บงการณ์
|
บงกช (ดอกบัว)
|
|
บนบาน (อ้อนวอนขอให้ช่วย)
|
บนบาล
|
บพิตร (พระองค์ท่าน)
|
บพิธ
|
บรรจถรณ์ (เครื่องปู, ที่นอน)
|
|
บรรณสาร (หนังสือราชการ)
|
บรรณสานส์
|
บรรทัด (เส้นตรง)
|
บันทัด
|
บรรทุก
|
บันทุก
|
บรรลัย (ย่อยยับ)
|
บรรไลย
|
บรรหาร (เฉลย, กล่าวแก้)
|
|
บริภัณฑ์ (ของใช้)
|
|
บริภาษ (กล่าวติเตียน)
|
|
แกงบวด (อาหาร)
|
แกงบวช
|
บวชชี (ของหวาน, ถือเพศเป็นชี)
|
บวดชี
|
บังสุกุล
|
บังสกุล
|
บัญญัติไตรยางศ์
|
บัญญัติไตรยางค์
|
บัณฑิต (ผู้มีปัญญา)
|
บัณฑิตย์
|
บันดาล (ให้เกิดมีขึ้น)
|
บรรดาล
|
บัณฑูร (คำสั่ง)
|
บัณฑูรย์
|
บัตรสนเท่ห์
|
บัตร์สนเท่ห์
|
บันได
|
บรรได
|
บันทึก
|
บรรทึก
|
บันเทิง
|
บรรเทิง
|
บัลลังก์
|
บัลลัง
|
อุกกาบาต
|
อุกาบาตร
|
บาตรพระ
|
บาตพระ
|
บานทะโรค (โรคริดสีดวง)
|
บานทโรค
|
บาศ (บ่วง)
|
บาศก์
|
บาศก์ (ลูกบาศก์)
|
บาศ
|
บำเหน็จ (รางวัล)
|
บำเหน็ด
|
บิณฑบาต
|
บิณฑบาตร
|
บิตุรงค์ (พ่อ)
|
บิตุรงศ์
|
บีฑา (บีบคั้น)
|
บีทา
|
บุคลากร
|
บุคคลากร
|
บุคลิกภาพ
|
บุคคลิกภาพ
|
บุญราศี (กองบุญ)
|
บุญราศรี
|
บุญญาภินิหาร
|
บุญญาภินิหารย์
|
บุนนาค (ต้นไม้ชนิดหนึ่ง)
|
บุญนาค
|
บุปผชาติ
|
บุปผาชาติ
|
บุพการี (บุบ-พะ-กา-รี) (ผู้อุปการะ)
|
บุพพการี
|
บุพพาจารย์ (บิดามารดา)
|
บุพาจารย์
|
บุพเพสันนิวาส
|
บุพเพสันนิวาท
|
บุษบง (ดอกไม้)
|
บุษบงก์
|
บุษยมาส (เดือนยี่)
|
บุษยมาศ
|
บุษราคัม
|
บุษราคำ
|
บูชายัญ
|
บูชายัณ
|
เบญจขันธ์
|
เบ็ญจขัณฑ์
|
เบญจพรรณ
|
เบ็ญจพันธุ์
|
เบญจมาศ (ต้นไม้)
|
เบญจมาส
|
เบญจเพส (ยี่สิบห้า)
|
เบญจเพศ
|
เบ็ดเตล็ด (เล็กๆ น้อยๆ)
|
เบ็ตเตล็ต
|
เบนซิน
|
เบ็นซิน
|
เบียร์
|
เบีย
|
โบกขรณี (โบก-ขะ-ระ-นี หรือ ขอ-ระ-นี) (สระบัว)
|
โบกขรณีย์
|
โบสถ์
|
โบสต์
|
ใบโพ
|
ใบโพธิ์
|
ปกิณกะ (ปะ-กิน-นะ-กะ) (เบ็ดเตล็ด)
|
ปกิณะกะ
|
ปฏิกิริยา
|
ปฏิกริยา
|
ปฏิกูล (พึงเกลียด)
|
ปฎิกูร
|
ปฏิญาณ (ปะ-ติ-ยาน) – ให้คำมั่นสัญญา
|
ปฏิญญาณ
|
ปฏิพัทธ์ (ผูกพัน)
|
ปฏิพัทย์
|
ปฏิสังขรณ์ (ซ่อมแซม)
|
ปฏิสังขร
|
ปฏิสันถาร (ทักทายปราศรัย)
|
ปฏิสันฐาน
|
ปฐพี (ปะ-ถะ หรือ ปัด-ถะ-พี) (แผ่นดิน)
|
ปัถพี
|
ปฐมฌาน (ปะ-ถม-มะ-ยาน) (ฌานเบื้องต้น)
|
ปฐมฌาณ
|
ปถพี (ปะ-ถะ-พี) (แผ่นดิน)
|
ปัถพี
|
ปรนนิบัติ (ปรน-นิ-บัด) (รับใช้)
|
ปรนนิบัต
|
ปรมัตถ์ (พระอภิธรรมปิฎก)
|
ปรมัตร
|
ปรมาณู (ปะ-ระ หรือ ปอ-ระ-มา-นู) (วัตถุขนาดเล็ก)
|
ปรมานู
|
ปรอด (ปะ-หลอด) (นก)
|
ปรอท
|
ปรอท (ปะ-หลอด) (ธาตุ)
|
ปรอด
|
ประกาศิต (คำสั่งเด็ดขาด)
|
ประกาสิทธิ์
|
ประกายพรึก (ดาวพระศุกร์)
|
ประกายพฤกษ์
|
ประคด (เครื่องคาดเอว หรือ อก สำหรับพระ)
|
ประคต
|
ประจญ (ต่อสู้)
|
ประจล
|
ประจักษ์ (แจ่มแจ้ง)
|
ประจักร
|
ประจัญบาน
|
ประจัญบาญ
|
ประณม (การน้อมไหว้)
|
ประนม
|
ประณาม (การขับไล่)
|
ประนาม
|
ประณิธาน
|
ปณิธาน
|
ประณีต
|
ปราณีต
|
ประดิดประดอย
|
ประดิษฐ์ประดอย
|
ประดิษฐาน
|
ประดิษฐ์สถาน
|
ประทีป (ตะเกียง, โดม)
|
ประทีบ
|
ประนม (ยกกระพุ่มมือ)
|
ประณม
|
ประนีประนอม
|
ปรานีประนอม
|
ประพาส (เที่ยวไป)
|
ประพาศ
|
ประภัสสร (สีเลื่อมๆ พรายๆ)
|
ประภัสสรณ์
|
ประภาษ (ตรัส, บอก, พูด)
|
ประภาส
|
ประภาส (แสงสว่าง)
|
ประภาษ
|
ประมง
|
ประมงค์
|
ประยุกต์
|
ประยุก
|
ประลองยุทธ์ (ซ้อมรบ)
|
ประลองยุทธ
|
ประวัติการ (ประ-หวัด-ติ-กาน) (เรื่องราวที่เป็นมาแล้วตามลำดับ)
|
|
ประวัติการณ์ (ประ-หวัด-ติ-กาน) (เหตุการณ์ที่มีค่าควรบันทึกจดจำ)
|
|
ประเวณี
|
ประเวนี
|
ประศาสน์ (การแนะนำสั่งสอน)
|
ประสาท
|
ประสบ (พบ)
|
ประสพ
|
ประสพ (การเกิดผล)
|
ประสบ
|
ประสูติ (การเกิด)
|
ประสูตร
|
ประหัตประหาร
|
ประหัตถประหาร
|
ปรักหักพัง (ปะ-หรัก-หัก-พัง) (ชำรุดทรุดโทรม)
|
สลักหักพัง
|
ปรักปรำ
|
|
ปรัชญา (ปรัด-ยา หรือ ปรัด-ชะ-ยา)
|
|
ปรัศนี (ปรัด-สะ-นี) (เครื่องหมายคำถาม)
|
ปรัศนี
|
ปรากฏ
|
ปรากฏ
|
ปรากฏการณ์ (ปรา-กด-กาน)
|
ปรากฏการ
|
ปราง (แก้ม)
|
ปรางค์
|
ปรางค์ (สถูปที่มียอดสูง)
|
ปรางศ์
|
ปราณ (ลมหายใจ, ชีวิต)
|
ปราน
|
ปราณี
|
ปรานี
|
ปราโมทย์ (ความบันเทิงใจ)
|
ปราโมท
|
ปรารมภ์ (รำพึง)
|
ปรารมย์
|
ปราศรัย (ปรารภ)
|
ปราศรัย
|
ปริณายก (ผู้เป็นใหญ่, หัวหน้า)
|
ปรินายก
|
ปรินิพพาน (การดับสนิท)
|
ปรินิพาน
|
ปริยัติ (ปะ-ริ-ยัด)ป (การเล่าเรียนพระไตรปิฎก)
|
ปริญัติ
|
ปริโยสาน (ที่สุดลงโดยรอบ)
|
|
ปริศนา
|
|
ปล้นสะดม
|
ปล้นสะดมภ์
|
ปวารณา (ยอมให้ใช้)
|
ปาวารณา
|
ปศุสัตว์
|
ปสุสัตว์
|
ปะการัง
|
ประการัง
|
ปักษิน (นก)
|
ปักษิณ
|
ปัจจามิตร
|
ปัจจามิต
|
ปัญจวัคคีย์
|
ปัญจวัคคี
|
ปัสสาวะ
|
ปัจสาวะ
|
ปากเปราะ
|
ปากเปลาะ
|
ปาฏิหาริย์ (ปา-ติ-หาน)
|
ปาฏิหาร
|
ปาติโมกข์
|
ปาฏิโมกข์
|
ปาราชิก (อาบัติ)
|
ปราชิก
|
ปาล์ม (ต้นไม้)
|
ปามล์
|
ปีกนิก
|
ปิ๊กนิค
|
ปิศาจ
|
ปีศาจ
|
ปี่พาทย์
|
ปี่พาท
|
เป็นนิตย์
|
เป็นนิจ
|
เปราะ (หักง่าย)
|
เปลาะ
|
เปอร์เซ็นต์
|
เปอร์เซ็น
|
แป๊บ (ท่อน้ำ)
|
แป็บ
|
แปรพักตร์
|
แปรพักต์
|
โปรดปราน
|
โปรดปราณ
|
ไปยาล (เครื่องหมาย)
|
ไปยาน
|
ไปรษณียภัณฑ์
|
|
ผงาด
|
ผะงาด
|
ผดุงครรภ์
|
ผะดุงครรภ์
|
ผนึก (ผะ-หนึก)
|
ผะนึก
|
ผรุสวาท (ผะ-รุ-สะ-วาด) (คำหยาบ)
|
ผรุสสวาท
|
ผลานิสงส์
|
ผลานิสงฆ์
|
ผลัด (เปลี่ยน, แทน)
|
ผัด
|
ผอบ
|
ผะอบ
|
ผักตบชวา
|
ผักตบชะวา
|
ผัด (ขอเลื่อนเวลา)
|
ผลัด
|
ผาสุก
|
ผาสุข
|
ผิดสังเกต
|
ผิดสังเกต
|
เผยแผ่ (ทำให้ขยายออกไป)
|
|
เผยแพร่ (โฆษณาให้แพร่หลาย)
|
|
ฝรั่งเศส
|
ฝรั่งเศษ
|
ฝีดาษ (โรค)
|
ฝีดาด
|
พงพันธุ์
|
พงพันธ์
|
พงศาวดาร
|
พงศาวดาล
|
พจมาน (คำพูด)
|
พจมาลย์
|
พเนจร
|
พะเนจร
|
พยัคฆ์ (เสือโคร่ง)
|
พยัค
|
พยากรณ์
|
|
พยาธิ
|
|
พยาบาท
|
|
พยุง
|
|
พระพรหม
|
พระพรหมณ์
|
พรหมจรรย์
|
|
พรหมจารี
|
|
พระภูมิ
|
|
พริ้งเพริศ
|
|
พฤกษชาติ
|
พฤกษาชาติ
|
พลัดพราก
|
|
พหูสูต
|
พหูสูตร
|
พ่อม่าย
|
พ่อหม้าย
|
พะเน้าพะนอ
|
พะเน้าพนอ
|
พะยูน (ปลา)
|
พยูน
|
พะรุงพะรัง
|
|
พะวง
|
|
พะอืดพะอม
|
|
พัทธสีมา
|
|
พัลวัล
|
|
พัศดี (ผู้คุม)
|
|
พัสดุ
|
|
พาณิช (พ่อค้า)
|
พานิช
|
พาณิชย์ (การค้า)
|
|
พาหุรัด (เครื่องประดับ)
|
|
พิจิตร (งาม)
|
|
เอ็ดตะโร
|
|
เอร็ดอร่อย
|
|
โอกาส
|
|
โอฆสงสาร (โอ-คะ-สง-สาน) (การเวียนเกิดเวียนตายในห้วงของกิเลส)
|
|
โอตตัปปะ (โอด-ตับ-ปะ) (ความกลัวบาป)
|
|
โอภาส (แสงสว่าง)
|
|
โอฬาร (ใหญ่โต)
|
|
อาถรรพณ์
|
|
อานิสงส์
|
|
อามิษ (หรือ อามิส) (เครื่องล่อใจ)
|
|
อาเพศ (เหตุที่เกิดขึ้นอย่างผิดปกติวิสัย ถือว่าเป็นลางไม่ดี)
|
|
อาวรณ์ (อาลัย, ห่วงใย, คิดกังวลถึง)
|
|
อาสาฬหะ (อา-สาน-หะ หรือ อา-สาน-ละ-หะ)
|
|
อีหลุยฉุยแฉก (หรือ อีลุ่ยฉุยแฉก)
|
|
อุกกาบาต
|
อุกาบาต
|
อุตพิด
|
|
อุตลุต (อุด-ตะ-หลุด)
|
อุดตลุต
|
อุบาทว์
|
|
อุปนิสัย (อุ-ปะ หรือ อุบ-ปะ-นิ-สัย)
|
|
อุปัฏฐาก (อุ-ปัด หรือ อุบ-ปัด-ถาก)
|
|
อุปัชฌาย์ (อุ-ปัด หรือ อุบ-ปัด-ชา)
|
|
อินทผลัม (อิน-ทะ-ผะ-ลัม) (หรือ อินทผาลัม)
|
|
อลังการ (การตกแต่ง-ประดับ, เครื่องตกแต่ง-ประ
ดับ, งามด้วยเครื่องประดับตกแต่ง)
|
|
อวสาน
|
|
อโศก
|
|
อสงไขย -มากจนนับไม่ถ้วน
|
|
อั้งโล่ (เตาไฟดินเผา)
|
|
อัชฌาสัย (ศัย) (กิริยาดี, นิสัยใจคอ, ความรู้จักผ่อนปรน)
|
|
อัธยาศัย
|
|
อัมพาต
|
|
อากัปกีรียา
|
|
ไสยาสน์
|
|
หน้ามุข
|
|
อเนจอนาถ (อะ-เหน็ด-อะ-หนาด) (น่าสงสาร-สังเวช-สลดใจ)
|
|
อโนดาต (สระ)
|
|
อนิจจา (คำที่เปล่งออกมาแสดงความสงสารสังเวช)
|
|
อนุสติ (อะ-นุด-สะ-ติ)
|
|
ศรัทธา
|
|
ศฦงคาร (สะ-หริง-คาน หรือ สิง-คาน) (สิ่งให้เกิดความรัก)
|
|
ศัตรู (สัด-ตรู) (ข้าศึก, ปรปักษ์)
|
|
สรณ หรือ สรณะ (สะ-ระ-นะ) (ที่พึ่ง, ที่ระลึก, ความระลึก)
|
|
สรรเสริญ (สัน-เสิน หรือ สัน-ระ-เสิน) (กล่าวคำยกย่อง เชิดชู หรือเทิดทูน)
|
|
สละสลวย (สะ-หละ-สะ-หลวย) (เป็นระเบียบเรียบร้อย, งดงาม)
|
|
สลาตัน (สะ-หลา-ตัน) (พายุใหญ่)
|
|
สลิด (สะ-หลิด) (ปลา, ไม้เถาชนิดหนึ่ง)
|
|
สลุต (สะ-หลุด) (คำนับ เช่น ยิงสลุต)
|
|
สะเพร่า (ไม่รอบคอบ, ไม่ถี่ถ้วน, ไม่เรียบร้อย, ทำอย่างหวัดๆลวกๆ)
|
สัพเพร่า
|
สัมฤทธิ์ (สำ-ริด) (ความสำเร็จ)
|
สำฤทธิ์
|
สาตรา (สาด-ตรา) – ของมีคม
|
ศาสตรา
|
สาธยาย (สา-ทะ-ยาย หรือ สาด-ทะ-ยาย) (การท่อง, การสวด, การทบทวน, การชี้แจงแสดงเรื่อง)
|
สาทะยาย
|
สาธารณ หรือ สาธารณะ (อ่านว่า สา-ทา-ระ-นะ ทั้งสองคำ (ทั่วไป, เพื่อประชาชนทั่วไป)
|
|
สามเณร (สาม-มะ-เนน) (ผู้ดำรงเพศอย่างภิกษุ)
|
|
สารเลว (สา-ระ-เลว) (เลวทั้งสิ้น)
|
สาระเลว
|
สารท (สาด) (ฤดูใบไม้ร่วง เทศกาลทำบุญวันสิ้นเดือนสิบ),
|
|
สีทันดร (สี-ทัน-ดอน) (ชื่อทะเลในคัมภีร์ไตรภูมิ)
|
|
สุจริต (สุ-จะ-หริด) (ประพฤติชอบตามคลองธรรม)
|
|
สุนทรี (สุน-ทะ-รี) (หญิงงาม, นางงาม)
|
สุนทรีย์
|
สุบรรณ (สุ-บัน) (ครุฑ)
|
|
เสลด (สะ-เหลด) (เสมหะ)
|
สเลด
|
เสวียน (สะ-เหวียน) (ไม้ไผ่เหลาขดเป็นวงกลม สำหรับรองก้นหม้อ)
|
|
แสยง (สะ-แหยง) (หวาดเกรง)
|
สแยง
|
แสยะ (สะ-แหยะ) (อาการของปากที่แบะออก แสดงให้รู้ว่าเกลียด เยาะเย้ย หรือเกลียดกลัว)
|
สแยะ
|
แสร้ง (แส้ง) (แกล้ง, จงใจทำให้ผิดจากความจริง)
|
|
แสลง (สะ-แหลง) (เป็นพิษ, ร้ายไม่ถูกกับโรค)
|
สแลง
|
โสมนัส (โสม-มะ-นัด) (ความสุขใจ-ปลาบปลื้ม-เบิกบาน)
|
โสมมนัส
|
โสมม (โส-มม) (สกปรก, เลอะเทอะ, น่าขยะแขยง)
|
|
หฤโหด (หะ-รึ-โหด) (ชั่วร้าย เลวทราม),
|
หรึโหด
|
หายนะ (หาย-ยะ-นะ หรือ หา-ยะ-นะ) (ความเสื่อม, ความเสียหาย, ความฉิบหาย)
|
หายยะนะ
|
อกรรมกริยา (อะ-กำ-กริ-ยา) (กริยาที่ไม่ต้องมีกรรมมารับ)
|
อกรรมกิริยา
|
องคาพยพ (อง-คา-พะ-ยบ หรือ อง-คาบ-พะ-ยบ) (อวัยวะน้อยใหญ่)
|
องค์คาพยพ
|
อโณทัย (อะ-โน-ไท) (พระอาทิตย์เพิ่งขึ้น)
|
อโนทัย
|
อนาถ (อะ-หนาด) (น่าสังเวช-สลดใจ-สงสาร)
|
|
อปมงคล (อะ-ปะ-มง-คน) หรือ อัปมงคล (อับ-ปะ-มง-คล) (ไม่เจริญ, ปราศจากมงคล, เป็นลางร้าย)
|
|
อปยศ (อะ-ปะ-ยด) หรือ อัปยศ (อับ-ปะ-ยด) (เสื่อมเสียชื่อเสียง, หน้าอับอายขายหน้า, ไร้ยศ)
|
อับปะยศ
|
อปราชัย (อะ-ปะ-รา-ไช) หรือ อัปราชัย (อับ-ปะ-รา-ไช) (ความชนะ, ความไม่แพ้, บางทีใช้ในความหมายว่า แพ้ เช่น คบคนดีเป็นศรีแก่ตัว คบคนชั่วอัปราชัย)
|
อับปราชัย
|
อปลักษณ์ (อะ-ปะ-ลัก) หรือ อัปลักษณ์ (อับ-ปะ-ลัก) (ชั่ว – มักใช้กับรูปร่างหน้าตา, มีลักษณะที่ถือว่าไม่เป็นมงคล เช่น หน้าตาอปลักษณ์ รูปร่างอัปลักษณ์)
|
อับปลักษณ์
|
อุปโลกน์ (อุ หรือ อุบ-ปะ-โหลก) (ยกกันขึ้นไป เช่น อุปโลกน์ให้เป็นหัวหน้า)
|
อุปโหลก
|
อภัพ (อะ-พับ) (ไม่สมควร, เป็นไปไม่ได้)
|
อาภัพ
|
อภัพบุคคล (อะ-พับ-พะ-บุค-คน) (คนไม่สมควร)
|
|
อภัย (อะ-ไพ) (ความไม่มีภัย, ความไม่ต้องกลัว)
|
|
อภัยทาน (อะ-ไพ-ยะ-ทาน) (การให้ความไม่มีภัย เช่น ให้อภัยทาน
|
|
อภัยโทษ (อะ-ไพ-ยะ-โทด) (ยกโทษหรือลดโทษให้)
|
|
อภิชฌา (อะ-พิด-ชา) (ความโลภ, ความอยากได้)
|
อภิชชา
|
อภิเนษกรมณ์ (อะ-พิ-เนด-สะ-กรม) (การออกบวชเพื่อคุณอันยิ่งใหญ่)
|
อภิเนษกรม
|
อภิรมย์ (อะ-พิ-รม) (รื่นเริงยิ่ง, ยินดียิ่ง, ดีใจยิ่ง – ใช้ว่าภิรมย์ ก็มี)
|
อภิรมณ์
|
อภิลักขิตสมัย (อะ-พิ-ลัก-ขิด-ตะ-สะ-ไหม) (เวลาที่กำหนดไว้, วันกำหนด, นิยมใช้วันทำบุญวันเกิดหรือวันทำพิธีประจำปี)
|
|
อภิวันท์ (กราบไหว้)
|
|
อภิวาท (อภิวาทน์) (การกราบไหว้)
|
|
อมฤต (อะ-มะ-ริด หรือ รึด) (น้ำทิพย์, เครื่องทิพย์)
|
|
อมฤตรส (อะ-มะ-ริด (รึด)-ตะ-รด) (รสพระธรรม)
|
|
อมฤตยู (อะ-มะ-รึด-ตะ-ยู) (ความไม่ตาย)
|
|
อรชร (ออ-ระ-ชอน) (งามอย่างเอวบางร่างน้อย)
|
อระชร
|
อรทัย (ออ-ระ-ไท) (หญิงสาว, สาวรุ่น, สาวงาม)
|
|
อรไท (ออ-ระ-ไท) (นางผู้เป็นใหญ่, นางผู้มีสกุล)
|
|
อรรณพ (อัน-นบ) (ห้วงน้ำ, ทะเล, มหาสมุทร)
|
|
อรรถคดี (อัด-ถะ-คะ-ดี) (เรื่องที่ฟ้องกันในศาล)
|
|
อรรถประโยชน์ (อัด-ถะ-ประ-โหยด) (ประโยชน์ที่ต้องการ)
|
|
อรรถรส (อัด-ถะ-รด) (รสแห่งถ้อยคำ, ถ้อยคำที่ทำให้เกิดความซาบซึ้ง)
|
|
อรรถาธิบาย (ขยายความ, อธิบายความ, การอธิบายขยายความ)
|
|
อรหัน (ออ-ระ-หัน) (ชื่อสัตว์ในนิยาย มีสองเท้า มีปีกคล้ายนก หัวคล้ายคน)
|
|
อรหันต์ (อะ-ระ-หัน หรือ ออ-ระ-หัน) (ชื่อพระอริยบุคคลชั้นสูงสุดในพระพุทธศาสนา)
|
|
อรูปพรหม (อะ-รูบ-ปะ-พรม) (พรหมไม่มีรูป)
|
|
อลวน (อน-ละ-วน) (วุ่น, สับสน)
|
อลวล
|
อลเวง (อน-ละ-เวง) (เซ็งแซ่, ไม่เป็นระเบียบ)
|
อนเลวง
|
อลหม่าน (อน-ละ-หม่าน) (ชุลมุน, วุ่นวาย, แตกตื่น)
|
|
อิหลักอิเหลื่อ หรือ อีหลักอีเหลื่อ (อึดอัดใจ, ลำบากใจ)
|
|
อล่างฉ่าง (อะ-หล่าง-ฉ่าง) (ที่เห็นเต็มที่, ที่เห็นเด่น, ที่เปิดเผย)
|
|
สักหลาด (สัก-กะ-หลาด) (ผ้าทำด้วยขนสัตว์)
|
|
สัปดน (สับ-ปะ-ดน) (หยาบโลน, อุตรินอกเรื่อง)
|
|
สัประยุทธ์ (สับ-ประ-ยุด) (รบพุ่งชิงชัยกัน)
|
|
สัปหงก (สับ-ปะ-หงก) (หน้าหงุบลงเพราะง่วงนอน)
|
|
สัปเหร่อ (สับ-ปะ-เหร่อ) (ผู้ทำหน้าที่ฝังหรือเผาศพ)
|
|
สัพยอก (สับ-พะ-ยอก) (หยอกเย้า)
|
|
สัมปชัญญะ (สำ-ปะ-ชัน-ยะ) (ความไม่เผลอตัว, ความรู้ตัวอยู่เสมอ)
|
|
อวล (อวน) (ฟุ้งด้วยกลิ่นหอม เช่น อบอวล)
|
|
อวสาน (อะ-วะ-สาน) (จบ, สิ้นสุด, การสิ้นสุด)
|
อวสาน
|
อวัสดา (อะ-วัด-สะ-ดา) (ฐานะ, ความเป็นอยู่)
|
|
อวิชชา (อะ-วิด-ชา) (ความไม่รู้)
|
อวิชา
|
อสรพิษ (อะ-สอ-ระ-พิด) (สัตว์มีพิษในเขี้ยว คืองูพิษ)
|
|
อสนี (อะ-สะ-นี) หรือ อัสนี (อัด-สะ-นี) (สายฟ้า, อาวุธพระอินทร์)
|
อัสนีย์
|
อสัญแดหวา (อะ-สัน-ยะ-แด-หวา) (เทวดา)
|
|
อัปรีย์ (อับ-ปรี) (เสื่อมทราม, น่าเกลียด, ไม่น่ารัก)
|
อับปรี
|
อัปสร (อับ-สอน) (นางฟ้า)
|
อับสร
|
อัมพร (อำ-พอน) (ฟ้า, อากาศ)
|
|
อัยกา (ไอ-ยะ-กา) (ปู่, ตา)
|
|
อัสดร (อัด-สะ-ดอน) (ม้าดี)
|
|
อาขยาน (อา-ขะ-หยาน) (การเล่า, การบอก, การสวด)
|
|
อาชญา (อาด-ยา หรือ อาด-ชะ-ยา) (อำนาจ, โทษ)
|
|
อาชญากร (อาด-ยา-กอน หรือ อาด-ชะ-ยา-กอน) (ผู้ก่ออาชญากรรม)
|
|
อายตนะ (อา-ยะ-ตะ-นะ) (เครื่องรู้และสิ่งที่รู้)
|
|
อำมหิต (อำ-มะ-หิด) (ดุร้าย, ร้ายกาจ)
|
|
อินทรี (อิน-ซี) (นก, ปลา)
|
|
อินทรีย์ (อิน-ซี) (อำนาจ, กำลัง, ความเป็นใหญ่)
|
|
อึกทึก (อึก-กะ-ทึก) (เอ็ด, อื้ออึง, ครึกโครม, อื้อฉาว)
|
|
เอิกเกริก (เอิก-กะ-เหริก) (อื้ออึงใหญ่, ครึกครื้น)
|
|